Fire Alarm Systems คืออะไร คือระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ที่ทำหน้าที่แจ้งเหตุให้คนที่อยู่ในอาคารทราบอย่างรวดเร็วก่อนที่ไฟไหม้จะลุกลามบานปลาย จนเป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้ ระบบแจ้งเหตุเพลิงใหม้ (Fire Alarm Systems) นี้อุปกรณ์ทุกชนิดจะทำงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดของมาตราฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงใหม้ ที่ได้รับการรับรองมาตราฐานการผลิต ISO 9001 เท่านั้น
Fire Alarm Systems หรือ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ คือระบบที่มีไว้สําหรับแจ้งเตือนเมื่อมีเหตุเพลิงไหม้ไฟไหม้ โดยจะใช้อุปกรณ์ตรวจจับต่างชนิดกันออกไปตามความเหมาะสมกับสภาพหน้างานต่างๆ เช่น Smoke Detector, Heat Detector, Manual Pull Station ( Manual Call Point ) เป็นต้น ซึ่งจะทําให้เราสามารถรับรู้และแก้ไขไม่ให้ไฟไหม้นั้นลุกลามจนไม่สามารถควบคุมได้
โดยส่วนประกอบของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้นั้น มี 5 ส่วนใหญ่ๆซึ่งทํางานเชื่อมโยงกัน
1. ชุดจ่ายไฟ (Power Supply) ชุดจ่ายไฟเป็นอุปกรณ์แปลงกําลังไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟอาคาร มาเป็นกําลังไฟฟ้ากระแสตรงที่ใช้ปฎิบัติงานของระบบ และจะต้องมีระบบไฟฟ้าสํารองเพื่อให้ระบบทํางานได้ในขณะที่ไฟฟ้าปกติดับได้
2. แผงควบคุม (Fire Alarm Control Panel) เป็นส่วนควบคุมและตรวจสอบการทํางานของอุปกรณ์และส่วนต่างๆในระบบทั้งหมด จะประกอบด้วยวงจรที่คอยรับสัญญาณจากอุปกรณ์เริ่มสัญญาณต่างๆ เช่น วงจรทดสอบการทํางาน, วงจรป้องกันระบบ, วงจรสัญญาณแจ้งการทํางานในสภาวะปกติและภาวะขัดข้อง เป็นต้น
3. อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ (Initiating Devices) เป็นอุปกรณ์ต้นกําเนิดของสัญญาณเตือนอัคคีภัยซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
3.1 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณจากบุคคล (Manual Station) ได้แก่สถานีแจ้งสัญญาณเตือนอัคคีภัยแบบใช้มือกด(Manual Push Station)
3.2 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณโดยอัตโนมัติเป็นอุปกรณ์อัตโนมัติ ที่มีปฎิกิริยาไวต่อสภาวะตามระยะต่างๆของการเกิดเพลิงไหม้ ได้แก่ อุปกรณ์ตรวจจับควัน(Smoke Detector) ,อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน(Heat Detector) ,อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ(Flame Detector) ,อุปกรณ์ตรวจจับแก๊ส(Gas Detector) เป็นต้น
4. อุปกรณ์แจ้งสัญญาณด้วยเสียงและแสง (Audible & Visual Signalling Alarm Devices) หลังจากอุปกรณ์เริ่มสัญญาณทํางานโดยส่งสัญญาณมายังตู้ควบคุมแล้ว ตู้ควบคุมจึงส่งสัญญาณออกมาโดยผ่านอุปกรณ์ได้แก่ กระดิ่ง, ไซเรน, ไฟสัญญาณ เป็นต้น เพื่อให้ผู้อยู่อาศัย, ผู้รับผิดชอบหรือเจ้าหน้าที่ดับเพลิงได้ทราบว่ามีเหตุเพลิงไหม้เกิดขึ้น
5. อุปกรณ์ประกอบ (Auxiliary Devices) เป็นอุปกรณ์ที่ทํางานเชื่อมโยงกับระบบอื่นที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมป้องกันและดับเพลิง โดยจะถ่ายทอดสัญญาณระหว่างระบบเตือนอัคคีภัยกับระบบอื่นๆ เช่น
5.1 ส่งสัญญาณกระตุ้นการทํางานของระบบบังคับลิฟท์ลงชั้นล่าง, การปิดพัดลมในระบบปรับอากาศ, เปิดพัดลมในระบบระบายอากาศ, เปลี่ยนแปลงเพื่อควบคุมควันไฟ,การควบคุมเปิดประตูทางออก, เปิดประตูหนีไฟ, ปิดประตูกันควันไฟ, ควบคุมระบบกระจายเสียงและการประกาศแจ้งข่าว, เปิดระบบดับเพลิงเป็นต้น
5.2 รับสัญญาณของระบบอื่นมากระตุ้นการทํางานของระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย เช่น จากระบบพ่นนํ้าปั๊มดับเพลิงระบบดับเพลิงด้วยสารเคมีชนิดอัตโนมัติเป็นต้น
กฎหมายกําหนดไว้ว่าอาคารที่เป็นอาคารสาธารณะ อาคารขนาดใหญ่และอาคารสูง ต้องมีข้อกําหนดสําหรับการป้องกันอัคคีภัยที่หลีกเลี่ยงมิได้เด็ดขาด แต่ในอาคารพักอาศัยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ เช่น คอนโดมิเนียม อพาร์ทเมนท์ ก็จําเป็นต้องมีระบบป้องกันอัคคีภัยตามสมควรไว้ด้วย ทั้งนี้เพื่อประโยชน์และความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของผู้อยู่อาศัย
จะเห็นว่าความปลอดภัยในอาคารมีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะจะทำให้ผู้อยู่อาศัยในอาคารได้รับความปลอดภัยในชีวิต และการทำงานระบบนี้ได้นั้นต้องได้รับการตรวจงานโดยวิศวกรไฟฟ้าด้วย เพื่อให้ได้มาตราฐานและความได้รับความเชื่อมั่นจากผู้พักอาศัย
>>อ่านเพิ่มเติมบทความเกี่ยวกับกฎหมายอาคารได้ที่นี่ คลิก
“เราเป็นมากกว่าบริษัทรับสร้างบ้านและอาคาร เราเป็นบริษัทฯ TURN KEY ครบวงจรอย่างแท้จริง เพราะนอกจากสร้างอาคารและตกแต่งภายในแล้วเรายังมีทีมวิศวกรไฟฟ้าสำหรับรับงานติดตั้งงานระบบด้วย เพราะเราอย่างให้ลูกค้าได้รับแต่สิ่งที่ดีมีคุณภาพและได้มาตราฐานภายใต้ความเป็นมืออาชีพ” บริษัทเรารับออกแบบตกแต่งภายในร้านอาหารทุกประเภทด้วยมัณฑนากรมืออาชีพและทีมช่างคุณภาพประสบการณ์มากกว่า20ปี โดยท่านสามารถส่งความต้องการมาหาเราได้ตามช่องทางข้างล่างนี้
สนใจติดต่อ งานออกแบบตกแต่งภายในและรีโนเวทอาคาร
Fire alarm Systems คืออะไร
Fire Alarm Systems คืออะไร คือระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ที่ทำหน้าที่แจ้งเหตุให้คนที่อยู่ในอาคารทราบอย่างรวดเร็วก่อนที่ไฟไหม้จะลุกลามบานปลาย จนเป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้ ระบบแจ้งเหตุเพลิงใหม้ (Fire Alarm Systems) นี้อุปกรณ์ทุกชนิดจะทำงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดของมาตราฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงใหม้ ที่ได้รับการรับรองมาตราฐานการผลิต ISO 9001 เท่านั้น
Fire Alarm Systems หรือ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ คือระบบที่มีไว้สําหรับแจ้งเตือนเมื่อมีเหตุเพลิงไหม้ไฟไหม้ โดยจะใช้อุปกรณ์ตรวจจับต่างชนิดกันออกไปตามความเหมาะสมกับสภาพหน้างานต่างๆ เช่น Smoke Detector, Heat Detector, Manual Pull Station ( Manual Call Point ) เป็นต้น ซึ่งจะทําให้เราสามารถรับรู้และแก้ไขไม่ให้ไฟไหม้นั้นลุกลามจนไม่สามารถควบคุมได้
โดยส่วนประกอบของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้นั้น มี 5 ส่วนใหญ่ๆซึ่งทํางานเชื่อมโยงกัน
1. ชุดจ่ายไฟ (Power Supply) ชุดจ่ายไฟเป็นอุปกรณ์แปลงกําลังไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟอาคาร มาเป็นกําลังไฟฟ้ากระแสตรงที่ใช้ปฎิบัติงานของระบบ และจะต้องมีระบบไฟฟ้าสํารองเพื่อให้ระบบทํางานได้ในขณะที่ไฟฟ้าปกติดับได้
2. แผงควบคุม (Fire Alarm Control Panel) เป็นส่วนควบคุมและตรวจสอบการทํางานของอุปกรณ์และส่วนต่างๆในระบบทั้งหมด จะประกอบด้วยวงจรที่คอยรับสัญญาณจากอุปกรณ์เริ่มสัญญาณต่างๆ เช่น วงจรทดสอบการทํางาน, วงจรป้องกันระบบ, วงจรสัญญาณแจ้งการทํางานในสภาวะปกติและภาวะขัดข้อง เป็นต้น
3. อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ (Initiating Devices) เป็นอุปกรณ์ต้นกําเนิดของสัญญาณเตือนอัคคีภัยซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
3.1 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณจากบุคคล (Manual Station) ได้แก่สถานีแจ้งสัญญาณเตือนอัคคีภัยแบบใช้มือกด(Manual Push Station)
3.2 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณโดยอัตโนมัติเป็นอุปกรณ์อัตโนมัติ ที่มีปฎิกิริยาไวต่อสภาวะตามระยะต่างๆของการเกิดเพลิงไหม้ ได้แก่ อุปกรณ์ตรวจจับควัน(Smoke Detector) ,อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน(Heat Detector) ,อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ(Flame Detector) ,อุปกรณ์ตรวจจับแก๊ส(Gas Detector) เป็นต้น
4. อุปกรณ์แจ้งสัญญาณด้วยเสียงและแสง (Audible & Visual Signalling Alarm Devices) หลังจากอุปกรณ์เริ่มสัญญาณทํางานโดยส่งสัญญาณมายังตู้ควบคุมแล้ว ตู้ควบคุมจึงส่งสัญญาณออกมาโดยผ่านอุปกรณ์ได้แก่ กระดิ่ง, ไซเรน, ไฟสัญญาณ เป็นต้น เพื่อให้ผู้อยู่อาศัย, ผู้รับผิดชอบหรือเจ้าหน้าที่ดับเพลิงได้ทราบว่ามีเหตุเพลิงไหม้เกิดขึ้น
5. อุปกรณ์ประกอบ (Auxiliary Devices) เป็นอุปกรณ์ที่ทํางานเชื่อมโยงกับระบบอื่นที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมป้องกันและดับเพลิง โดยจะถ่ายทอดสัญญาณระหว่างระบบเตือนอัคคีภัยกับระบบอื่นๆ เช่น
5.1 ส่งสัญญาณกระตุ้นการทํางานของระบบบังคับลิฟท์ลงชั้นล่าง, การปิดพัดลมในระบบปรับอากาศ, เปิดพัดลมในระบบระบายอากาศ, เปลี่ยนแปลงเพื่อควบคุมควันไฟ,การควบคุมเปิดประตูทางออก, เปิดประตูหนีไฟ, ปิดประตูกันควันไฟ, ควบคุมระบบกระจายเสียงและการประกาศแจ้งข่าว, เปิดระบบดับเพลิงเป็นต้น
5.2 รับสัญญาณของระบบอื่นมากระตุ้นการทํางานของระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย เช่น จากระบบพ่นนํ้าปั๊มดับเพลิงระบบดับเพลิงด้วยสารเคมีชนิดอัตโนมัติเป็นต้น
กฎหมายกําหนดไว้ว่าอาคารที่เป็นอาคารสาธารณะ อาคารขนาดใหญ่และอาคารสูง ต้องมีข้อกําหนดสําหรับการป้องกันอัคคีภัยที่หลีกเลี่ยงมิได้เด็ดขาด แต่ในอาคารพักอาศัยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ เช่น คอนโดมิเนียม อพาร์ทเมนท์ ก็จําเป็นต้องมีระบบป้องกันอัคคีภัยตามสมควรไว้ด้วย ทั้งนี้เพื่อประโยชน์และความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของผู้อยู่อาศัย
จะเห็นว่าความปลอดภัยในอาคารมีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะจะทำให้ผู้อยู่อาศัยในอาคารได้รับความปลอดภัยในชีวิต และการทำงานระบบนี้ได้นั้นต้องได้รับการตรวจงานโดยวิศวกรไฟฟ้าด้วย เพื่อให้ได้มาตราฐานและความได้รับความเชื่อมั่นจากผู้พักอาศัย
>>อ่านเพิ่มเติมบทความเกี่ยวกับกฎหมายอาคารได้ที่นี่ คลิก
“เราเป็นมากกว่าบริษัทรับสร้างบ้านและอาคาร เราเป็นบริษัทฯ TURN KEY ครบวงจรอย่างแท้จริง เพราะนอกจากสร้างอาคารและตกแต่งภายในแล้วเรายังมีทีมวิศวกรไฟฟ้าสำหรับรับงานติดตั้งงานระบบด้วย เพราะเราอย่างให้ลูกค้าได้รับแต่สิ่งที่ดีมีคุณภาพและได้มาตราฐานภายใต้ความเป็นมืออาชีพ” บริษัทเรารับออกแบบตกแต่งภายในร้านอาหารทุกประเภทด้วยมัณฑนากรมืออาชีพและทีมช่างคุณภาพประสบการณ์มากกว่า20ปี โดยท่านสามารถส่งความต้องการมาหาเราได้ตามช่องทางข้างล่างนี้
สนใจติดต่อ งานออกแบบตกแต่งภายในและรีโนเวทอาคาร